วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557




อย่างที่เคยกล่าวในบทที่ 1 ว่า  Bootstrap นั้นรองรับการแสดงผลทั้งบนคอมพิวเตอร์ มือถือและแท็บแล็ต โดยการแสดงผลดังกล่าว Bootstrap นั้นใช้ Grid System  เข้ามาจัดการการแสดงผลเนื้อหาให้มีความเหมาะสมกับขนาดหน้าจอของอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้น


วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557




Bootstrap คือ เฟรมเวิร์ค Front-end ที่ทำให้นักพัฒนาเว็บเพจสามารถสร้างเว็บเพจได้รวดเร็วและง่ายมากยิ่งขึ้น ซึ่ง Bootstrap นั้นได้สร้าง Plugin สำหรับเร็จรูปให้กับนักพัฒนาได้หลายอย่างเช่น เมนูบาร์ พาเนลในรูปแบบต่างๆ ข้อความเตือนในรูปแบบต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นนักพัฒนาจึงไม่จำเป็นที่ต้องมาเสียเวลาเขียนโค้ด HTML เองขึ้นมา นอกจากนี้ Bootstrap ยังรองรับการแสดงผลในอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น บนมือถือ บนแท็บแล็ต และบนคอมพิวเตอร์ ดังนั้นนักพัฒนาจึงไม่จำเป็นที่ต้องเสียเวลาพัฒนาเว็บหลายเวอร์ชั่น เพื่อให้เว็บของเราสามารถแสดงผลบนอุปกรณ์เหล่านั้น


วันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2557


     Syntax Highlighter  เป็นเครื่องมือที่ถูกพัฒนามาจาก JavaScript ที่ถูกสร้างมาเพื่อใช้แสดงผลโค้ดของบรรดาเหล่า Programmer ทั้งหลายให้มีความสวยงาม และให้คนที่มาอ่านสามารถอ่านได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ดังรูป



     สำหรับการนำ Syntax Highlighter มาใช้ร่วมกับ Blogger ของ Google นั้นสามารถทำได้อย่างง่ายดาย ดังต่อไปนี้


Subscribe to RSS Feed Follow me on Twitter!